วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ระบบฎิบัติการลินุกซ์
เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ ดอส
ไมโครซอฟต์วินโดวส์ หรือยูนิกซ์
โดยลีนุกซ์นั้นจัดว่าเป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ประเภทหนึ่ง
การที่ลีนุกซ์เป็นที่กล่าวขานกันมากขณะนี้
เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU's Not UNIX) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช
แมค Mac เป็นชื่อของผลิตภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พัฒนา
ออกแบบ และจำหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล แมคอินทอชเครื่องแรกออกวางจำหน่ายเมื่อ 24
มกราคม พ.ศ. 2527 ออกแบบโดย เจฟ ราสกิน แต่ปัจจุบันโจนาธาน ไอฟ์ได้มารับช่วงต่อ
โดยถือว่าเป็นระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก และเมาส์
ซึ่งไม่ได้ใช้คอมมานด์ไลน์เหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไปในขณะนั้น โดยในส่วนประเทศไทย
บริษัท สหวิริยา โอเอ จำกัด เป็นผู้นำเข้าและเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายรายแรก ซึ่ง
แมคอินทอชรุ่นแรกที่ อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
เป็นระบบปฏิบัติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
ใช้ในการควบคุมการทำงานของศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงเป็นจำนวนมาก ดังนั้นยูนิกซ์
จึงมักใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ และมีการ อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
เป็นระบบปฏิบัติการ
ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985
โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมใน อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฎิบัติการดอส
ระบบปฏิบัติการดอส
(DOS : Disk Operating System)
เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างโปรแกรม มีดังต่อไปนี้
โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression utility) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง
ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์ เรียกว่า ซิปไฟล์ (zip file) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ที่นิยม
เช่น WinZip, Winrar เป็นต้น
โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นโปรแกรมที่ช่วยป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาในระบบโดย
1) โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility)
เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มักมีการติดตั้งมาพร้อมระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว
ซึ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น
1.1)
โปรแกรมอรรถประโยชน์จัดการไฟล์ (file manager)เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่างๆ
เช่น สามารถคัดลอกแฟ้มข้อมูล เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล ลบแฟ้มข้อมูล
หรือเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ
ได้อย่างสะดวกเป็นต้น ซึ่งระบบปฏิบัติการวินโดวส์รุ่นใหม่ๆ
ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่แสดงไฟล์เป็นรูปภาพเหมือนจริงเพื่อนำมาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพอีกด้วย
โปรแกรมอรรถประโยชน์
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility
Program )
เป็นโปรแกรมที่สำคัญกับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน
ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ
คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลายหรือ อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของระบบปฎิบัติการ
1.3)ระบบปฎิบัติการแบบฝัง
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์ค อ่านเพิ่มเติม
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์ค อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของระบบปฎิบัติการ
1.2)ระบบปฎิบัติการแบบเครือข่าย
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สำหรับงานให้บ อ่านเพิ่มเติม
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สำหรับงานให้บ อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของระบบปฎิบัติการ
1.1)ระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลแล อ่านเพิ่มเติมวันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ ( User Interface ) การสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างที่เราต้องการ ผู้ใช้จะต้องป้อนข้อมูลและชุดคำสั่งต่าง ๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยผ่านส่วนที่ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน หรือเรียกว่า ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ ( user interface ) ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line ) เป็นส่วนประสานงานกับผู้ใช้ที่อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคำสั่งที่เป็นตัวหนังสือ
(text ) สั่งการลงไปด้วยตนเองเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการทีละบรรทัดคำสั่งหรือ
คอมมานด์ไลน์ (command line )
ประเภทกราฟิก (GUI – Graphical User
Interface ) การใช้งานแบบคอมมานด์ไลน์ที่ต้องป้อนข้อมูลชุดคำสั่งทีละบรรทัดนั้น
ทำให้เกิดความไม่สะดวกและยุ่งยากกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์มา อ่านเพิ่มเติม
ซอฟต์แวร์ระบบ
ระบบปฎิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่ อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่ อ่านเพิ่มเติม
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ
คือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์
จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ
การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์รว อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง
ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์
ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้
แต่ส อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)